พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
บี้ยแก้หลวงพ่อน...
บี้ยแก้หลวงพ่อนุ่ม วัดนางใน เลี่ยมปล้องอ้อยนิยม ปรอทเต็มไม่มีเสียง
ท่านเป็นพระเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงโด่งดังของจังหวัดอ่างทอง เบี้ยแก้หลวงพ่อนุ่ม วัดนางใน สมบูรณ์มาก วางแปะด้วยชันโรงใต้ดินเกือบเต็มท้องเบี้ย ตามสูตร จบครับ

แบ่งออกเป็น
- เบี้ยปรอทเต็ม เขย่าไม่มีเสียงน้ำหนังเบี้ยหนัก
- เบี้ยปรอทแห้ง เขย่าเสียงจะดัง
- เบี้ยปรอทตาย น้ำหนักจะเบาแต่ยังมีพุทธคุณ

ลักษณะเด่นของเบี้ยแก้หลวงพ่อนุ่นกับหลวงพ่อภักตร์ วัดโบสถ์จะคล้ายกัน
ส่วนของหลวงพ่อคำ วัดโพธิ์ปล้ำ จะเติมตะกั่วลงไปเขย่าจะมีเสียงทุกใบ เสียงแช็กๆ เหมือนมีทรายอยู่ด้านใน

ท่านเป็นอีกหนึ่งพระคณาจารย์ดังของ จ.อ่างทอง ควบคู่ไปกับหลวงพ่อภักตร์ วัดโบสถ์ และหลวงพ่อคำ วัดโพธิ์ปล้ำ วัตถุมงคลที่สร้างและปลุกเสกเอาไว้ มีมากมายหลายชนิด แต่ที่รับความนิยมสูงพร้อมทั้งมากล้นประสบการณ์ก็คงหนีไม่พ้น เบี้ยแก้ของท่าน ท่านได้ศึกษาพระเวทย์วิทยาคมพร้อมทั้งสรรพวิชาต่างๆ กับพระอธิการพ่วง
ต่อมามาศึกษากับพระครูธรรมสารรักษา(อ้น) วัดบุปผาราม พระอุปัชฌาย์ซึ่งมีชื่อเสียงใน จ.สุพรรณบุรีในสมัยนั้น และท่านได้ศึกษาด้วยตนเองจากตำราโบราณต่างๆอย่างเชี่ยวชาญ ตลอดจนท่านยังเป็นสหธรรมิกกับ หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพธิ์ อีกทั้งยังแลกเปลี่ยนวิชากับอีกหลายพระคณาจารย์ ไม่ว่าจะเป็น หลวงพ่อภักตร์ วัดโบสถ์ หลวงพ่อคำ วัดโพธิ์ปล้ำ จะไปมาหาสู่กันอยู่เสมอๆซึ่งจะเห็นว่าเบี้ยแก้ของท่านทั้งสามสำนักจะมีลักษณะใกล้เคียงกันมาก แต่ถ้าพบเห็นบ่อยๆเคยสัมผัส และมีความรู้ ความชำนาญอยู่บ้างก็จะเป็นเรื่องง่ายในการพิจารณาแบ่งแยกลักษณะเบี้ยแก้ของแต่ละสำนัก เพราะลึกๆแล้วอย่างไรก็ตาม เบี้ยแก้ของแต่ละที่ แต่ละสำนักก็จะมีวิถี มีเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันนั่นเอง. •••••เบี้ยแก้ของพ่อนุ่ม วัดนางใน และการสร้างวัตถุมงคลประเภทเบี้ยแก้ของท่านนั้น เริ่มสร้างมาตั้งแต่ปีพ.ศ.ใดนั้นไม่ได้มีการจดบันทึกไว้ แต่จากการคาดคะเน หลวงพ่อนุ่ม ได้รับอาราธนามาดำรงค์ตำแหน่งเจ้าอาวาสที่วัดนางในธัมมิการาม นำโดยนายเผ่า ชัชวาลยางกูร คณบดี และเป็นเจ้าของตลาดสดในอำเภอวิเศษชัยชาญ ตรงกับปี พ.ศ.๒๔๖๙ ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะตำบลเมื่อปี พ.ศ.๒๔๗๓ และได้เป็นพระอุปัชฌาย์ในปี พ.ศ.๒๔๗๗ จึงมีการคาดกันว่าหลวงพ่อนุ่ม ท่านน่าจะเริ่มสร้างเบี้ยแก้ ให้แก่ญาติโยม เป็นการเฉลิมฉลอง ไม่ปีใดก็ปีหนึ่งในปีนั้นๆที่เอ่ยมา และเท่าที่พบเห็นเล่นหาเป็นสากลเบี้ยของท่านจะเป็นเบี้ยเปลือยไม่มีการถักเชือกแต่อย่างใด ส่วนการเลี่ยมจับขอบไม่ว่าจะด้วยเนื้อทองคำ เงิน นาค นั้น แล้วแต่ลูกศิษย์ที่ได้รับจะนำไปเลี่ยมกันเองไม่ได้เลี่ยมจากทางวัดอย่างที่บางท่านเข้าใจกันซึ่งร้านที่มักนิยมนำเบี้ยไปเลี่ยมกันนั้นก็เป็นร้านเดียวกันกับลูกศิษย์ของหลวงพ่อภักตร์ วัดโบสถ์ และหลวงพ่อคำ วัดโพธิ์ปล้ำ นำไปเลี่ยมกันเป็นร้านทองในตลาดวิเศษชัยชาญ ฉะนั้นลักษณะการเลี่ยมเบี้ยแก้ของทั้งสามสำนักนี้จึงมีลักษณะคล้ายกัน เพราะเลี่ยมร้านเดียวกันนั่นเอง จึงเป็นเรื่องยุ่งยากพอสมควรในการจะแบ่งแยก และพิจารณาสำหรับท่านที่ไม่มีความชำนาญ แต่มักมีข้อเปรียบเทียบง่ายๆ อยู่ว่าเบี้ยแก้ของหลวงพ่อภักตร์ วัดโบสถ์มักจะตัวใหญ่กว่าของหลวงปู่คำ วัดโพธิ์ปล้ำ และหลวงพ่อนุ่น วัดนางใน แต่ก็ใช่ว่าจะทุกลูกเสมอไป
ผู้เข้าชม
2237 ครั้ง
ราคา
โทรถาม
สถานะ
ยังอยู่
โดย
ชื่อร้าน
พลศรีทองพระเครื่อง( บู เชียงราย )
ร้านค้า
โทรศัพท์
ไอดีไลน์
busoftware52
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
282-2-248xx-x

ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
ว.ศิลป์สยามบ้านพระสมเด็จkaew กจ.vanglannaponsrithong2ponsrithong
ยุ้ย พลานุภาพเทพจิระศักดา พระเครื่องsomphopTUI789mosnarok
มนต์เมืองจันท์TotoTatoเจริญสุขพีพีพระสมเด็จnatthanetLeksoi8
อ้วนโนนสูงภูมิ IRหมี คุณพระช่วยNithipornแมวดำ99Erawan
Putputtangmoอาร์ตกำแพงเพชรจิ๊บพุทธะมงคลศิษย์บูรพาเปียโน

ผู้เข้าชมขณะนี้ 696 คน

เพิ่มข้อมูล

บี้ยแก้หลวงพ่อนุ่ม วัดนางใน เลี่ยมปล้องอ้อยนิยม ปรอทเต็มไม่มีเสียง



  ส่งข้อความ



ชื่อพระเครื่อง
บี้ยแก้หลวงพ่อนุ่ม วัดนางใน เลี่ยมปล้องอ้อยนิยม ปรอทเต็มไม่มีเสียง
รายละเอียด
ท่านเป็นพระเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงโด่งดังของจังหวัดอ่างทอง เบี้ยแก้หลวงพ่อนุ่ม วัดนางใน สมบูรณ์มาก วางแปะด้วยชันโรงใต้ดินเกือบเต็มท้องเบี้ย ตามสูตร จบครับ

แบ่งออกเป็น
- เบี้ยปรอทเต็ม เขย่าไม่มีเสียงน้ำหนังเบี้ยหนัก
- เบี้ยปรอทแห้ง เขย่าเสียงจะดัง
- เบี้ยปรอทตาย น้ำหนักจะเบาแต่ยังมีพุทธคุณ

ลักษณะเด่นของเบี้ยแก้หลวงพ่อนุ่นกับหลวงพ่อภักตร์ วัดโบสถ์จะคล้ายกัน
ส่วนของหลวงพ่อคำ วัดโพธิ์ปล้ำ จะเติมตะกั่วลงไปเขย่าจะมีเสียงทุกใบ เสียงแช็กๆ เหมือนมีทรายอยู่ด้านใน

ท่านเป็นอีกหนึ่งพระคณาจารย์ดังของ จ.อ่างทอง ควบคู่ไปกับหลวงพ่อภักตร์ วัดโบสถ์ และหลวงพ่อคำ วัดโพธิ์ปล้ำ วัตถุมงคลที่สร้างและปลุกเสกเอาไว้ มีมากมายหลายชนิด แต่ที่รับความนิยมสูงพร้อมทั้งมากล้นประสบการณ์ก็คงหนีไม่พ้น เบี้ยแก้ของท่าน ท่านได้ศึกษาพระเวทย์วิทยาคมพร้อมทั้งสรรพวิชาต่างๆ กับพระอธิการพ่วง
ต่อมามาศึกษากับพระครูธรรมสารรักษา(อ้น) วัดบุปผาราม พระอุปัชฌาย์ซึ่งมีชื่อเสียงใน จ.สุพรรณบุรีในสมัยนั้น และท่านได้ศึกษาด้วยตนเองจากตำราโบราณต่างๆอย่างเชี่ยวชาญ ตลอดจนท่านยังเป็นสหธรรมิกกับ หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพธิ์ อีกทั้งยังแลกเปลี่ยนวิชากับอีกหลายพระคณาจารย์ ไม่ว่าจะเป็น หลวงพ่อภักตร์ วัดโบสถ์ หลวงพ่อคำ วัดโพธิ์ปล้ำ จะไปมาหาสู่กันอยู่เสมอๆซึ่งจะเห็นว่าเบี้ยแก้ของท่านทั้งสามสำนักจะมีลักษณะใกล้เคียงกันมาก แต่ถ้าพบเห็นบ่อยๆเคยสัมผัส และมีความรู้ ความชำนาญอยู่บ้างก็จะเป็นเรื่องง่ายในการพิจารณาแบ่งแยกลักษณะเบี้ยแก้ของแต่ละสำนัก เพราะลึกๆแล้วอย่างไรก็ตาม เบี้ยแก้ของแต่ละที่ แต่ละสำนักก็จะมีวิถี มีเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันนั่นเอง. •••••เบี้ยแก้ของพ่อนุ่ม วัดนางใน และการสร้างวัตถุมงคลประเภทเบี้ยแก้ของท่านนั้น เริ่มสร้างมาตั้งแต่ปีพ.ศ.ใดนั้นไม่ได้มีการจดบันทึกไว้ แต่จากการคาดคะเน หลวงพ่อนุ่ม ได้รับอาราธนามาดำรงค์ตำแหน่งเจ้าอาวาสที่วัดนางในธัมมิการาม นำโดยนายเผ่า ชัชวาลยางกูร คณบดี และเป็นเจ้าของตลาดสดในอำเภอวิเศษชัยชาญ ตรงกับปี พ.ศ.๒๔๖๙ ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะตำบลเมื่อปี พ.ศ.๒๔๗๓ และได้เป็นพระอุปัชฌาย์ในปี พ.ศ.๒๔๗๗ จึงมีการคาดกันว่าหลวงพ่อนุ่ม ท่านน่าจะเริ่มสร้างเบี้ยแก้ ให้แก่ญาติโยม เป็นการเฉลิมฉลอง ไม่ปีใดก็ปีหนึ่งในปีนั้นๆที่เอ่ยมา และเท่าที่พบเห็นเล่นหาเป็นสากลเบี้ยของท่านจะเป็นเบี้ยเปลือยไม่มีการถักเชือกแต่อย่างใด ส่วนการเลี่ยมจับขอบไม่ว่าจะด้วยเนื้อทองคำ เงิน นาค นั้น แล้วแต่ลูกศิษย์ที่ได้รับจะนำไปเลี่ยมกันเองไม่ได้เลี่ยมจากทางวัดอย่างที่บางท่านเข้าใจกันซึ่งร้านที่มักนิยมนำเบี้ยไปเลี่ยมกันนั้นก็เป็นร้านเดียวกันกับลูกศิษย์ของหลวงพ่อภักตร์ วัดโบสถ์ และหลวงพ่อคำ วัดโพธิ์ปล้ำ นำไปเลี่ยมกันเป็นร้านทองในตลาดวิเศษชัยชาญ ฉะนั้นลักษณะการเลี่ยมเบี้ยแก้ของทั้งสามสำนักนี้จึงมีลักษณะคล้ายกัน เพราะเลี่ยมร้านเดียวกันนั่นเอง จึงเป็นเรื่องยุ่งยากพอสมควรในการจะแบ่งแยก และพิจารณาสำหรับท่านที่ไม่มีความชำนาญ แต่มักมีข้อเปรียบเทียบง่ายๆ อยู่ว่าเบี้ยแก้ของหลวงพ่อภักตร์ วัดโบสถ์มักจะตัวใหญ่กว่าของหลวงปู่คำ วัดโพธิ์ปล้ำ และหลวงพ่อนุ่น วัดนางใน แต่ก็ใช่ว่าจะทุกลูกเสมอไป
ราคาปัจจุบัน
โทรถาม
จำนวนผู้เข้าชม
2330 ครั้ง
สถานะ
ยังอยู่
โดย
ชื่อร้าน
พลศรีทองพระเครื่อง( บู เชียงราย )
URL
เบอร์โทรศัพท์
0877124640
ID LINE
busoftware52
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารไทยพาณิชย์ / 282-2-248xx-x




กำลังโหลดข้อมูล

หน้าแรกลงพระฟรี